วิชา การวางแผนและการควบคุมการบริหาร
๔๐๖ ๓๐๕ การวางแผนและการควบคุมงานบริหาร ๓ (๓-๐-๖)
Administration Planing and Cotrol
ศึกษาทฤษฎี เทคนิค รูปแบบและกระบวนการวางแผนและควบคุม หลักสำคัญในการวางแผนและควบคุม ประเภทของการวางแผนและควบคุมงานบริหาร การพัฒนาการวางแผนและควบคุมงานบริหาร กลยุทธ์ในการวางแผนและควบคุม การวางแผนและควบคุมที่มีประสิทธิภาพแนวโน้มการวางแผนและควบคุมงานบริหาร และการวางแผนและควบคุมงานบริหารตามแนวพุทธ
-----
อาจารย์ประจำรายวิชา : ร้อยตรีกาญจน์ ลอยมา
-----
-----
บทความประจำรายวิชา
-----
เศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร?
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บันทึกประจำวัน
---------------
เสาร์ (ชดเชย)
๐๔/๐๖/๒๕๕๑
---------------
---------------
เสาร์ (ชดเชย)
๐๔/๐๖/๒๕๕๑
---------------
เนื้อหาโดยวิชา..
นโยบายและการวางแผน
-แม่แบบ (นามธรรม) ..: Model
-รูปแบบ (รูปธรรม) ..: Pattern
นโยบาย
-แนวกำหนด กรรมวิธี กิจกรรมต่างๆ เพื่อสู่การปฏิบัติ สู่ความคาดหวัง เพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
เช่น วัดปลอดเหล้า / สร้างศาลกลางน้ำ ฯลฯ
คนในองค์กร : รับทราบข้อปฏิบัติ
คนนอกองค์กร : รู้ / เข้าใจลักษณะองค์กรนั้น ๆ
การวางแผน
การกำหนดกิจกรรม หลักปฏิบัติงาน เพื่อเป็นไปตามนโยบาย
---มีปฏิสัมพันธ์กัน---
นโยบาย
-แนวคิด บงชี้ : ของผู้นำ
-ควร / ไม่ควรทำ
-เพื่อให้กิจกรรมสำเร็จ / ราบรื่น
-ยอมรับบทบาทผู้นำ
-ตัวชี้ทิศทาง / ข้อมูลในการวางแผน
-กุศโลบาย
ความสำคัญนโยบายและการวางแผน
-แม่แบบ (นามธรรม) ..: Model
-รูปแบบ (รูปธรรม) ..: Pattern
การบริหารงาน
นโยบาย Policy
การวางแผน : Planning
นโยบาย Policy
การวางแผน : Planning
นโยบาย
-แนวกำหนด กรรมวิธี กิจกรรมต่างๆ เพื่อสู่การปฏิบัติ สู่ความคาดหวัง เพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
เช่น วัดปลอดเหล้า / สร้างศาลกลางน้ำ ฯลฯ
คนในองค์กร : รับทราบข้อปฏิบัติ
คนนอกองค์กร : รู้ / เข้าใจลักษณะองค์กรนั้น ๆ
การวางแผน
การกำหนดกิจกรรม หลักปฏิบัติงาน เพื่อเป็นไปตามนโยบาย
---มีปฏิสัมพันธ์กัน---
นโยบาย
-แนวคิด บงชี้ : ของผู้นำ
-ควร / ไม่ควรทำ
-เพื่อให้กิจกรรมสำเร็จ / ราบรื่น
-ยอมรับบทบาทผู้นำ
-ตัวชี้ทิศทาง / ข้อมูลในการวางแผน
-กุศโลบาย
-ชัดเจน ..กิจกรรมราบรื่น การปฏิบัติไม่มีอุปสรรค / ร่วมแรงร่วมใจ / มีประสิทธิภาพ
-คลุมเครือ ...สร้างความสับสน / ....ด้อยประสิทธิภาพ
-ยุทธการ ...บงบอกความรู้ / ความสามารถของผู้นำ
-นโยบาย ...ผลงาน / เป้าประสงค์
นโยบาย กับการดำเนินกิจการ หน่วยงาน องค์กร ประเทศชาติ ฯลฯ
- เช่น ครอบครัว คุ้ม หมู่บ้าน อบต. อบจ. วัด กระทรวง รัฐบาล
- เช่น ครอบครัว คุ้ม หมู่บ้าน อบต. อบจ. วัด กระทรวง รัฐบาล
การเมือง : กระบวนการทั้งหมดที่กำหนด “นโยบาย”
ประเด็นสำคัญ : ปฏิสัมพันธ์ / สอดคล้องอย่างต่อเนื่องใกล้ชิด
“การเมืองกับการบริหาร” แยกกันไม่ออก
ฐานะของนโยบาย (สถานะ)
-เสนอภาพรวม “นโยบาย” มีรูปร่างฐานะอย่างไร ?
-เป็นเครื่องมือของ ...หัวหน้า ..ผู้นำองค์กร ..ฝ่ายการการเมือง
คิดค้นเพื่อเป็นแนวทาง การบริหารงาน
ความเห็นนักวิชาการ
-นโยบาย มีหลายฐานะ
-ปรัชญา / หลักศาสนา
-อุดมคติ / เศรษฐกิจพอเพียง
-สังคมศาสตร์
-การวางแผนงาน
-สิ่งมหัศจรรย์ ..น่าศึกษา ค้นคว้า ..(สิ่งที่เกินขึ้นเฉพาะหน้า)
-นโยบาย มีหลายฐานะ
-ปรัชญา / หลักศาสนา
-อุดมคติ / เศรษฐกิจพอเพียง
-สังคมศาสตร์
-การวางแผนงาน
-สิ่งมหัศจรรย์ ..น่าศึกษา ค้นคว้า ..(สิ่งที่เกินขึ้นเฉพาะหน้า)
---------------
พุธ
๒๕/มิ.ย./๒๕๕๑
---------------
การวางแผน
......เป็นขั้นตอนในกระบวนการทางนโยบาย
......ขั้นตองแปลงนโยบาย
......นำนโยบายไปปฏิบัต
ิ
ศัพท์วิชาการ
-แผน Plan
-วิธีการกระทำ ...กำหนดล่วงหน้า
-ลักษณะ ..เกี่ยวกับอนาคต / เป็นการกระทำที่มีวัตถุประสงค์ / เกี่ยวข้องกับองค์กร เจ้าหน้าที่
เป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้
แผนงาน Program ..กลุ่มโครงการ หลายๆ โครงการที่เกี่ยวข้อง
โครงการ Project ..กลุ่มกิจกรรม หลายๆ กิจกรรม
..มีวันเริ่มต้น และวันสิ้นสุด ชัดเจนแน่นอน
โครงการใดปฏิบัติจนต่อเนื่อง ....คือ งานประจำ
----------------
คำคม อ.กาญจน์ ลอยมา
..... ยิ่งทาน ยิ่งได้ ...ยิ่งให้ ยิ่งมา
พุธ
๒๕/มิ.ย./๒๕๕๑
---------------
การวางแผน
......เป็นขั้นตอนในกระบวนการทางนโยบาย
......ขั้นตองแปลงนโยบาย
......นำนโยบายไปปฏิบัต
ิ
ศัพท์วิชาการ
-แผน Plan
-วิธีการกระทำ ...กำหนดล่วงหน้า
-ลักษณะ ..เกี่ยวกับอนาคต / เป็นการกระทำที่มีวัตถุประสงค์ / เกี่ยวข้องกับองค์กร เจ้าหน้าที่
เป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้
แผนงาน Program ..กลุ่มโครงการ หลายๆ โครงการที่เกี่ยวข้อง
โครงการ Project ..กลุ่มกิจกรรม หลายๆ กิจกรรม
..มีวันเริ่มต้น และวันสิ้นสุด ชัดเจนแน่นอน
โครงการใดปฏิบัติจนต่อเนื่อง ....คือ งานประจำ
มโนทัศน์ของการวางแผน
-เป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับ
-วงการบริหาร ..กว้างขวาง รู้-เข้าใจ / ใช้ ..เพื่อการบริหาร
เป็นหน้าที่พื้นฐานของนักบริหาร / นักบริหารควรรู้ / เขียน / กำหนดไว้
กระบวนการวางแผน
กระบวนการ - บุคคล/หน่วยงาน - กำหนดไว้ล่วงหน้า - เพื่องานในอนาคต
ปรัชญาการวางแผน
หน้าที่ผู้บริหารต้องทำ ..ให้งานมีประสิทธิภาพ
การกำหนดแผน ..ตามปรัชญา / เชื่อในการทำงานของนักบริหาร
เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์การ/หน่วยงาน ทำให้แผนที่กำหนดไว้ นำไปปฏิบัติได้
การวางแผน /แนวปรัชญาพึงพอใจ
๑.ถือเอาความต้องการ ของผู้วางแผนเป็นสำคัญ
๒.กำหนดวัตถุประสงค์ / การให้ข้อมูล ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน
๓.ข้อมูล ไม่มีการวิเคราะห์ กลั่นกรอง
๔.แผน ยืดหยุ่นสูง หลีกเลี่ยงปัญหา
๕.คำนึง ..ทรัพยากร เงินเป็นหลัก
๖.มุ่งหมาย ..อยู่รอด มากกว่าเจริญก้าวหน้า
๗.ไม่มีระบบควบคุม / ประเมินผล / ทำเท่าที่ทำได้
๘.เน้นสำเร็จ / ประสิทธิผลมากกว่าประสิทธิภาพ / คุณภาพ
การวางแผน / แนวปรัชญาประโยชน์สูงสุด
๑.เน้นสื่อ / ข้อมูลที่เป็นตัวเลข
๒.วัตถุประสงค์ ..เน้นปริมาณ มากกว่าคุณภาพ
๓.ให้ความสำคัญ ...กับทรัพยากร ทุกประเภท ..ไม่เน้นคน
๔.จุดอ่อน ..ขาดการควบคุมส่วนย่อย
๕.มุ่งปริมาณ ..ขาดคุณภาพ
๖.ปริมาณที่ได้ ..ไม่ตรงวัตถุประสงค์ / ความคาดหมาย / ไม่ยั่งยืน
การวางแผน / ปรัชญาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
๑.เน้นกระบวนการ / การมีส่วนร่วม / ผู้เกี่ยวข้องเป็นสำคัญ
๒.กำหนด รูปแบบขององค์การ/ การจัดการ สามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรค ..ในอนาคต
๓.ลักษณะ ..วางแผนเชิงวิทยาศาสตร์
๔.อาศัยข้อมูลจาก ศึกษาวิจัย / วิเคราะห์ ..ก่อนใช้
๕.มุ่งวัตถุประสงค์ ขององค์การ / บุคคล
๖.เพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ขององค์การ
-เป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับ
-วงการบริหาร ..กว้างขวาง รู้-เข้าใจ / ใช้ ..เพื่อการบริหาร
เป็นหน้าที่พื้นฐานของนักบริหาร / นักบริหารควรรู้ / เขียน / กำหนดไว้
กระบวนการวางแผน
กระบวนการ - บุคคล/หน่วยงาน - กำหนดไว้ล่วงหน้า - เพื่องานในอนาคต
ปรัชญาการวางแผน
หน้าที่ผู้บริหารต้องทำ ..ให้งานมีประสิทธิภาพ
การกำหนดแผน ..ตามปรัชญา / เชื่อในการทำงานของนักบริหาร
เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์การ/หน่วยงาน ทำให้แผนที่กำหนดไว้ นำไปปฏิบัติได้
แอคคอฟฟ์ ..กำหนดไว้ ๓ แบบ
๑.ยึดปรัชญาพึงพอใจ ๒.ยึดปรัชญาการได้ประโยชน์สูงสุด ๓.คำนึงถึงการดัดแปลงให้ความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
การวางแผน /แนวปรัชญาพึงพอใจ
๑.ถือเอาความต้องการ ของผู้วางแผนเป็นสำคัญ
๒.กำหนดวัตถุประสงค์ / การให้ข้อมูล ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน
๓.ข้อมูล ไม่มีการวิเคราะห์ กลั่นกรอง
๔.แผน ยืดหยุ่นสูง หลีกเลี่ยงปัญหา
๕.คำนึง ..ทรัพยากร เงินเป็นหลัก
๖.มุ่งหมาย ..อยู่รอด มากกว่าเจริญก้าวหน้า
๗.ไม่มีระบบควบคุม / ประเมินผล / ทำเท่าที่ทำได้
๘.เน้นสำเร็จ / ประสิทธิผลมากกว่าประสิทธิภาพ / คุณภาพ
การวางแผน / แนวปรัชญาประโยชน์สูงสุด
๑.เน้นสื่อ / ข้อมูลที่เป็นตัวเลข
๒.วัตถุประสงค์ ..เน้นปริมาณ มากกว่าคุณภาพ
๓.ให้ความสำคัญ ...กับทรัพยากร ทุกประเภท ..ไม่เน้นคน
๔.จุดอ่อน ..ขาดการควบคุมส่วนย่อย
๕.มุ่งปริมาณ ..ขาดคุณภาพ
๖.ปริมาณที่ได้ ..ไม่ตรงวัตถุประสงค์ / ความคาดหมาย / ไม่ยั่งยืน
การวางแผน / ปรัชญาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
๑.เน้นกระบวนการ / การมีส่วนร่วม / ผู้เกี่ยวข้องเป็นสำคัญ
๒.กำหนด รูปแบบขององค์การ/ การจัดการ สามารถแก้ไขปัญหา/อุปสรรค ..ในอนาคต
๓.ลักษณะ ..วางแผนเชิงวิทยาศาสตร์
๔.อาศัยข้อมูลจาก ศึกษาวิจัย / วิเคราะห์ ..ก่อนใช้
๕.มุ่งวัตถุประสงค์ ขององค์การ / บุคคล
๖.เพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ขององค์การ
สรุป ปรัชญาการวางแผน
-การวางแผนที่ดี ไม่ยึดอย่างใดอย่างหนึ่งอันเดียว
-ผสมผสาน ส่วนดีในแต่ละปรัชญา
-ความเป็นไปได้ / พึงพอใจ / ผลผลิต ..ทุกฝ่าย / ทุกระดับ
-การวางแผนที่ดี ไม่ยึดอย่างใดอย่างหนึ่งอันเดียว
-ผสมผสาน ส่วนดีในแต่ละปรัชญา
-ความเป็นไปได้ / พึงพอใจ / ผลผลิต ..ทุกฝ่าย / ทุกระดับ
----------------
คำคม อ.กาญจน์ ลอยมา
..... ยิ่งทาน ยิ่งได้ ...ยิ่งให้ ยิ่งมา
**********
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น