วันอังคารที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2551

พระพวง ยโสธโร



ชื่อ : พระพวง
ฉายา : ยโสธโร
นามสกุล : สมประสงค์
เกิด : วันพุธ ที่ ๒๖ เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๐๙
อายุ ๔๒ ปี
พรรษา ๑๓


ตำแหน่ง : ครูสอนพระปริยัติธรรม
ที่อยู่ : วัดสระแก้ว ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
จังหวัดนครราชสีมา ๓๐๐๐๐
โทร. ๐๘-๙๙๔๖-๑๙๔๒
E-Mail : peeone@windowslive.com


-- การศึกษา --
นักธรรมเอก,
ป.บส. (คณะสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตนครราชสีมา
ปัจจุบันกำลังศึกษา พ.ธบ. คณะสังคมศาสตร์(พิเศษ) ปี ๓
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาเขตนครราชสีมา

----
ปรัชญา

----
ยอมตายอย่างคนโง่ ดีกว่าตายเพราะถูกเธอลวง


ฝากไว้ให้ (คิด) อ่าน

-----------------
...จากใจผู้ดูแลเว็บ....
ท่านคือ..ที่พึ่งพิงในยามอดอยาก
ที่พักพิงในยามหลับใหล
------------------

2 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ วันจันทร์, 15 กันยายน, 2551  

ดีมากที่ได้แบ่งปันความรู้ได้ทั่วถึงกัน ขอบคุณ


peeone

ไม่ระบุชื่อ วันศุกร์, 14 สิงหาคม, 2552  

1. การจัดเก็บข้อมูลแบบดั้งเดิม เรียกว่าระบบแฟ้มข้อมูล มีปัญหาดังนี้
1.1 ความซ้ำซ้อนของข้อมูล เนื่องจากแต่ละหน่วยงานพยายามเก็บข้อมูลในแต่ละแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงมีลักษณะซ้ำซ้อนซึ่งทุกแฟ้มข้อมูลมีข้อมูลนักศึกษาประกอบด้วยชื่อ / เลขทะเบียน / และที่อยู่ของนักศึกษา ทำให้เกิดความสิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล รวมทั้งเวลาในการป้อนข้อมูลด้วย
1.2 ความไม่สอดคลองกันของข้อมูล การที่มีการจัดเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนกันทำให้เกิดปัญหาความไม่สอดคล้องของข้อมูลในแต่ละแฟ้มข้อมูลได้ เมื่อนักศึกษาเปลี่ยนที่อยู่ใหม่ นักศึกษาได้แจ้งข้อมูลไปเฉพี่แผนกลงทะเบียน แต่ไม่ได้แจ้งแผนกอื่น ทำให้ที่อยู่นักศึกษาในแฟ้มข้อมูลที่แผนกอื่นไม่ตรงกับแผนกทะเบียน
1.3 ขาดความยืดหยุ่น ระบบแฟ้มข้อมูลสามารถจัดทำรายงานในรูปแบบที่กำหนดไว้ล่วงหน้า แต่ไม่สามารถจัดทำรายงานตามคำขอที่ไม่เตรียมไว้ล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.4 ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล การควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลจะทำได้ยากในระแฟ้มข้อมูล เนื่องจากแต่ละหน่วยงานมีอิสระในการป้อนข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูล รวมทั้งการเพิ่มแอพพลิเคชั่นเข้าไป
1.5 ขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลแต่ละตัวควรมีรูปแบบในการเก็บข้อมูลแบบเดียวกัน เช่น เลขทะเบียนของนักศึกษาไม่ควรมีการใส่ตัวหนังสือมาด้วย และเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาไม่ควรจะมีค่าเป็นลบ การจัดระบบแฟ้มข้อมูลจะทำให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของข้อมูลทำได้ยาก เนื่องจากการเก็บข้อมูลของแต่ละระบบเป็นอิสระต่อกัน
1.6 ข้อมูลมีความสัมพันธ์ในลักษณะขึ้นต่อกับโปรแกรม การจัดระบบแฟ้มข้อมูลทำให้แอพพลิเคชั่นและข้อมูลอื่นขึ้นต่อกันโดยตรง กล่าวคือ รูปแบบของข้อมูลที่เก็บจะขึ้นอยู่กับโปรแกรมหรือแอพพลิเคชั่นที่ใช้ หากต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือรูปแบบของข้อมูลบางครั้งจำเป็นตองเปลี่ยนแปลงโปรแกรมด้วยซึ่งต้องทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูงมาก
1.7 ข้อมูลแยกอิสระต่อกัน การใช้ระบบแฟ้มข้อมูลจะไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลของระบบต่าง ๆ เข้าด้วยกันจึงทำให้การเข้าถึงข้อมูลในระบบอื่น ๆ ทำได้ยากเนื่องจากข้อมูลเป็นอิสระต่อกัน การใช้แอพพลิเคชั่นแต่ระชนิดจะมีการจัดเก็บระบบข้อมูล และรูปแบบข้อมูลแตกต่างกันจึงทำการเข้าถึงแอพพลิเคชั่นอื่นทำไม่ได้
1.8 ขาดการใช้ข้อมูลร่วมกัน เนื่องจากการเก็บข้อมูลในแฟ้มเป็นอิสระต่อกัน จึงทำให้การใช้ข้อมูลร่วมกันเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้
2. ความหมายของระบบการจัดเก็บข้อมูล DBMS มีดังนี้ ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems-DBMS) คือซอฟแวร์หรือกลุ่มของโปรแกรมที่ช่วยในการวางแผน รวบรวมข้อมูล จัดการและเข้าถึงข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้สามารถใช้ DBMS ในการเพิ่มเติมข้อมูล ลบข้อมูลแสดงผล พิมพ์ ค้นหา เลือก จัดเรียง หรือยกระดับข้อมูลได้
3. ดาต้าแวร์เฮาส์ คือ ฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลทั้งในปัจจุบัน และในอดีตซึ่งดึงมาระบบปฏิบัติการหลายระบบและนำมารวมกันเพื่อประโยชน์ในการจัดทำรายงานหรือวิเคราะห์มูล โดยดาต้าแวร์เฮาส์จะประกอบด้วยเครื่องมือในการถามที่เป็นมาตรฐาน เครื่องมือในการวิเคราะห์ และเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการทำงานในลักษณะกราฟฟิค ดาต้าแวร์เฮาส์สามารถทำการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงวิเคราะห์แนวโน้ม หรือเจาะหาข้อมูล ในรายละเอียดเมือต้องการได้

  © ขอขอบคุณ Blogger template 'Ultimatum' by s-hatcore ๒๕๕๐ : s-hatcore

กลับขึ้นข้างบน : Back to TOP